Page 13 - ISSUE26_APRIL
P. 13

W W W . H E A L T H A D D I C T . C O M




           โรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่หลายคนมองว่าเป็นเรื่องไกลตัว เพราะส่วนใหญ่มักพบใน

           ผู้สูงอายุ จึงทำาให้คนวัยหนุ่มสาวคิดละเลย ไม่ใส่ใจ ยิ่งไม่เคยมีประวัติคนในครอบครัว
           เป็นโรคหัวใจด้วยแล้วก็คิดว่าคงยากที่โรคนี้จะเกิดขึ้นกับตัวเอง แต่รู้มั้ยว่าโรคนี้อาจใกล้

           ตัวกว่าที่คุณคิด!


       ไม่แสดงอาการ...ใช่ว่าไม่อันตราย!
       โรคหัวใจเป็นหนึ่งในสาเหตุส�าคัญที่ท�าให้คนไทยเสียชีวิตเป็นอันดับต้นๆ
       ไม่น้อยไปกว่าอุบัติเหตุและมะเร็ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะหัวใจวาย ที่
       ส่วนใหญ่เกิดจากหลอดเลือดหัวใจตีบตัน ท�าให้หัวใจขาดเลือด จนกล้าม
       เนื้อหัวใจตายและหัวใจวายในที่สุด ซึ่งความน่ากลัวของโรคนี้ก็คือ มักจะ
       ไม่มีอาการใดๆ เป็นสัญญาณเตือนที่จะบอกให้รู้ว่าเส้นเลือดหัวใจเริ่มมี
       ความผิดปกติ ท�าให้กว่าจะรู้ก็มักเกิดการสูญเสียขึ้นแล้วนั่นเอง และ
       ที่ส�าคัญคือโรคนี้ไม่ได้ส่งต่อทางพันธุกรรมเท่านั้น แต่ยังเกิดจาก
       พฤติกรรมการใช้ชีวิตจึงเกิดขึ้นได้กับทุกคน ทุกเพศ และทุกวัยที่ไม่
       ใส่ใจการดูแลสุขภาพ


       วิวัฒนาการการรักษาจากอดีตจนปัจจุบัน
       ในสมัยก่อนผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตันมักจะได้รับการ
       รักษาเพียงเพื่อประคับประคองเท่านั้น ท�าให้อัตราการเสียชีวิตพุ่งสูงถึง
       30% จนมาเมื่อปี พ.ศ.2504 การรักษาเริ่มเปลี่ยนแปลงไป มีการจัดตั้ง
       หอผู้ป่วยวิกฤตโรคหัวใจ หรือ CCU เพื่อดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ท�าให้
       อัตราการเสียชีวิตลดลงเหลือ 15% ก่อนที่จะเริ่มมีการรักษาด้วย                                                                             INTRAVASCULAR
       ยาละลายลิ่มเลือด ตามด้วยการต่อยอดสู่การใช้บอลลูน ขดลวด ขดลวด  คือสามารถเก็บข้อมูลภาพการเอกซเรย์หลอดเลือดหัวใจ แบบ 3 มิติ ได้ภายในการตรวจครั้ง
       เคลือบยา และอื่นๆ ที่ท�าให้การรักษาประสบความส�าเร็จเพิ่มขึ้น ภาวะ  เดียว เพื่อให้คนไข้ได้รับการฉีดสารทึบรังสีน้อยที่สุด รวมถึงแสดงภาพแผนที่หลอดเลือดหัวใจ
       แทรกซ้อนน้อยลง และช่วยลดอัตราการกลับมาเป็นซ�้าลงได้อย่างมี  แบบเคลื่อนไหวไปพร้อมกับการเต้นของหัวใจชนิด Real time ด้วยจอแสดงผลความละเอียด
       ประสิทธิภาพ                                          สูงขนาด 58 นิ้ว ท�าให้แพทย์สามารถวินิจฉัยหลอดเลือดได้ชัดเจน และตัวเครื่องยังลด
                                                            ปริมาณรังสีที่ใช้ในการตรวจรักษาให้น้อยลงที่สุดโดยใช้เท่าที่จ�าเป็น จึงช่วยเพิ่มความ
       โรคหลอดเลือดหัวใจ...กับการฉีดสี                      ปลอดภัยต่อผู้ป่วยและแพทย์ผู้ท�าการรักษา
       การสวนหลอดเลือดหัวใจ (CAG) หรือการฉีดสี เป็นการตรวจวินิจฉัย
       และรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจที่ไม่ซับซ้อน โดยแพทย์จะใส่สายสวน   แม่นยำาแบบ 360 องศา ด้วย IVUS
       เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 มิลลิเมตร เข้าไปตามหลอดเลือดแดง    นอกจากเครื่องเอกซเรย์ ยังมีอีกเทคโนโลยีที่มีประโยชน์อย่างมากในการตรวจและรักษาโรค
       โดยเริ่มที่ต�าแหน่งข้อมือหรือขาหนีบ จนไปถึงรูเปิดหลอดเลือดเลี้ยง   หลอดเลือดหัวใจ นั่นก็คือ Intravascular Ultrasound หรือ IVUS เทคโนโลยีการมอง
       หัวใจ จากนั้นก็จะฉีดสารทึบรังสีเข้าทางสายสวนเพื่อให้วิ่งไปที่หลอด   ภาพจากภายในหลอดเลือดโดยตรง (Intracoronary Imaging) “การท�างานของตัวเครื่อง
       เลือดหัวใจ และท�าการเอกซเรย์เป็นระยะ เพื่อดูสภาพกล้ามเนื้อหัวใจ ดู  จะมีลักษณะคล้ายการท�าอัลตร้าซาวนด์ เป็นการตรวจโดยคลื่นเสียงประสิทธิภาพสูง ท�าให้
       การท�างานของลิ้นหัวใจ และตรวจดูต�าแหน่งการตีบแคบหรือตีบตัน   สามารถเห็นหลอดเลือดหัวใจได้ 360 องศา สามารถวิเคราะห์ได้ถึงต้นเหตุที่ท�าให้หลอด
       ของหลอดเลือดหัวใจ                                    เลือดหัวใจตีบว่าเกิดจาก พังผืด ไขมัน หรือเป็นหินปูน และยังสามารถทราบถึงขนาดหลอด
                                                            เลือด ต�าแหน่งของตะกรันที่ชัดเจน ท�าให้สามารถวางแผนการวินิจฉัยได้อย่างแม่นย�ากว่า
       นวัตกรรม เพิ่มประสิทธิภาพการรักษา                    การฉีดสีเพียงอย่างเดียว”
       และเมื่อมีจ�านวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น แน่นอนว่านวัตกรรมทางการแพทย์
       ก็จะต้องพัฒนาก้าวตามไปด้วย นพ.สุวัฒน์ คงด�ารงเกียรติ อายุรแพทย์  IVUS ยิ่งบูรณาการ... ยิ่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ
       โรคหัวใจและหัวหน้าศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลพญาไท 3 ได้อธิบายให้ฟัง  จากการศึกษาวิจัยพบว่าการตรวจรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบโดยการฉีดสี ถ้าได้รับการ
       ว่า “วิธีการที่ดีกว่าการรักษา ก็คือตรวจพบรอยโรคตั้งแต่ระยะเริ่มต้น   ตรวจวิเคราะห์เพิ่มเติมด้วย IVUS จะสามารถช่วยให้ผลการตรวจรักษามีประสิทธิภาพมาก
       ท�าให้สามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที ลดความเสี่ยงจากการเสียชีวิตฉับ  ยิ่งขึ้น จึงท�าให้ปัจจุบันมีค�าแนะน�าให้ใช้ IVUS เพื่อช่วยประเมินภาวะเส้นเลือดหัวใจตีบ
       พลัน” ซึ่งทางศูนย์มีการติดตั้งอุปกรณ์ เครื่องเอกซเรย์ตรวจสวนหัวใจ  ก่อนที่จะพิจารณารักษาโดยการขยายหลอดเลือด ในหลายๆ กรณี เช่น เส้นเลือดหัวใจตีบ
       และหลอดเลือดเพื่อให้การตรวจรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจมี  ตรงส่วนขั้วหัวใจ เส้นเลือดหัวใจที่ตีบหลายๆ เส้นหรือหลายๆ จุด และเส้นเลือดที่สงสัยว่ามี
       ประสิทธิภาพ แม่นย�า และปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ด้วยคุณสมบัติที่โดดเด่น  หินปูนเกาะจ�านวนมาก เป็นต้น



                                                                                                                                i
              อยากลดความเสี่ยง ต้อง “หยุด” พฤติกรรมทำาลายหัวใจ











                                                                                                                 นพ.สุวัฒน์ คงดำารงเกียรติ  A  D  D  I  C  T      |     13
                                                                                                                 อายุรแพทย์ โรคหัวใจ และ
                                  กินของมัน                                                                      หัวหน้าศูนย์หัวใจ
             พักผ่อนน้อย                               สูบบุหรี่       ดื่มแอลกอฮอล์           เครียด
                                  ของทอด                                                                         โรงพยาบาลพญาไท 3
   8   9   10   11   12   13   14   15   16