Page 13 - ISSUE22_DECEMBER
P. 13

W W W . H E A L T H A D D I C T . C O M


                    “หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท” โรคที่พบได้บ่อย แถมยังสร้างความทรมานให้กับผู้ป่วย ที่ต้องทนกับอาการ

                    ปวดหลัง ปวดร้าวลงขา หรือปวดรุนแรงจนไม่สามารถขยับตัวเดินได้เป็นปกติ! แต่ด้วยความกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัด
                    รักษา ท�าให้ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่กล้าไปพบแพทย์ ทั้งที่จริงๆ แล้ว เทคนิคการผ่าตัดในปัจจุบันก็ก้าวล�้ามากขึ้นอย่าง

                    การผ่าตัดผ่านกล้อง Endoscope เทคนิคใหม่ในการรักษาหมอนรองกระดูกทับเส้น... ที่ช่วยให้การผ่าตัด
                    ไม่ได้น่ากังวลอย่างที่คิด!!!




                นั่งท�างานนานๆ เพิ่มความเสี่ยง “หมอนรองกระดูกทับเส้น” นะ รู้ยัง?
                เมื่อเราอายุมากขึ้น อวัยวะต่างๆ ในร่างกายก็มีอายุการใช้งานที่มากขึ้นและ
                เกิดความเสื่อมไปตามกาลเวลา ท�าให้หลายคนเข้าใจว่า... ต้องคนแก่เท่านั้นถึง
                จะเสี่ยงโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท! ทั้งที่จริงๆ แล้ว ปัญหาหมอน
                รองกระดูกทับเส้นประสาท ยังเกิดได้จากสาเหตุอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรม
                การยกของหนัก การนั่งท�างานเป็นเวลานานหรือการได้รับแรงกดซ�้าๆ จากการ
                ออกก�าลังกายหรือเล่นกีฬา และนี่คือเหตุผลว่าท�าไม? วัยท�างานอย่างเราที่ดู
                เหมือนว่าหมอนรองกระดูกน่าจะยังแข็งแรงดี ถึงมีโอกาสเป็นโรคหมอนรอง
                กระดูกทับเส้นประสาทได้ไม่ต่างกับผู้สูงวัย!


                ตรวจพบหมอนรองกระดูกทับเส้น... ใครว่าต้อง “ผ่าตัด” อย่างเดียว
                ใช้ชีวิตแบบมนุษย์ออฟฟิศอยู่ดีๆ วันหนึ่งแพทย์วินิจฉัยว่า “คุณเป็นหมอนรอง
                กระดูกทับเส้นประสาท” แน่นอนว่าย่อมเกิดค�าถามต่างๆ ตามมามากมาย โดย
                เฉพาะเรื่องของวิธีการรักษา...ว่าฉันจะต้องผ่าตัดหรือไม่? ซึ่งจริงๆ แล้ว วิธีการ
                รักษาที่ถูกน�ามาใช้บ่อยที่สุด ก็คือ การท�ากายภาพบ�าบัดร่วมกับการทานยาเพื่อ  พัฒนาไปอีกขั้น! กับการผ่าตัดผ่านกล้อง
                บรรเทาอาการ นั่นก็แปลว่า ไม่ใช่ผู้ป่วยทุกคนที่จะต้องเข้ารับการผ่าตัด!  Endoscope แผลเล็กและแม่นย�ากว่า
                                                                          ปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนาเป็นเทคนิคการผ่าตัด
                                                                          ผ่านกล้อง Endoscope (Endoscopic spine
                        ถึงแม้ต้องผ่าตัด! ก็ลดกังวลได้...                 surgery) ที่สามารถสอดกล้องเข้าไปในตัวผู้ป่วยได้
                        ด้วยการผ่าตัดผ่านกล้อง Microscope                 ช่วยให้แพทย์มองเห็นภายในได้อย่างชัดเจน จึงไม่จ�าเป็นต้อง
                        แต่ในกรณีที่รักษาด้วยการกายภาพบ�าบัดร่วมกับการใช้ยาแล้วไม่  เลาะกล้ามเนื้อหรือตัดกระดูกออก! และยังท�าให้ไม่เสียความ
                        เห็นผล ยังคงมีอาการปวดต่อเนื่องนานเกิน 6 สัปดาห์ขึ้นไป หรือ  มั่นคงของกระดูกหลังการผ่าตัดเหมือนการผ่าตัดด้วยวิธีอื่นๆ
                        แพทย์วินิจฉัยตั้งแต่แรกแล้วว่าอาการอยู่ในระดับรุนแรง “การ  รวมไปถึงขนาดแผลผ่าตัดก็ยังมีขนาดเล็กเท่าปลายปากกา หรือ
                                  ผ่าตัด” ก็อาจจะกลายเป็นวิธีรักษาที่ถูกน�ามาใช้แทน!   แค่ประมาณ 0.8-1 เซนติเมตรเท่านั้น ผู้ป่วยจึงเสียเลือดเพียง
                                    ซึ่งนอกจากการผ่าตัดเปิดหน้าท้องแบบวิธีดั้งเดิม   เล็กน้อย ลดโอกาสเสี่ยงภาวะแทรกซ้อน และหลังผ่าตัดยัง
                                      ก็ยังมีการผ่าตัดผ่านกล้อง Microscope   สามารถลงเดินได้ทันทีอีกด้วย
                                       หรือกล้องจุลทรรศน์ ที่ช่วยให้ขนาดแผล
                                        ผ่าตัดเล็กลง เหลือเพียงแค่ประมาณ 3   เพราะ (หมอนรอง) กระดูกสันหลังส�าคัญไม่แพ้อวัยวะส่วนอื่นๆ
                                        เซนติเมตร ซึ่งแม้ว่าจะตอบโจทย์เรื่อง  สถาบันกระดูกและข้อ รพ.พญาไท 2 จึงได้น�าเทคโนโลยีในการผ่าตัด
                                        ขนาดแผลผ่าตัดได้ดี แต่แพทย์ก็ยังคงมี  อย่างการผ่าตัดผ่านกล้อง Endoscope มาเป็นอีกหนึ่งทางเลือก
                                        ความจ�าเป็นที่จะต้องเลาะกล้ามเนื้อบาง  ให้กับผู้ป่วย พร้อมด้วยทีมแพทย์เฉพาะทางที่มีความเชี่ยวชาญ
                                       ส่วนออก ท�าให้ผู้ป่วยอาจมีอาการปวดแผล  เพื่อให้การผ่าตัดมีความปลอดภัยและผลลัพธ์ในการรักษามี
                                     หลังผ่าตัดอยู่บ้าง                   ประสิทธิภาพมากที่สุด!                                            A  D  D  I  C  T      |    13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16